คอมพิวเตอร์และระบบคอมพิวเตอร
นาย วีระศักดิ์ สีมาคำ คบ.1 หมู่1 สาขาวิชาภาษาไทยความหมายของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องมือหรืออุปกรณ์ประเภทอิเล็กทรอนิกส์ที่ทำงานด้วย คำสั่ง ชุดทำสั่ง หรือโปรแกรมต่างๆ สามารถเชื่อมต่อกับเป็นเครือข่ายได้หลายแบบ ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์คือ มีศักยภาพสูงในการประมวลผลและคำนวณ ที่มีข้อมูลที่เป็นตัวเลข และรูปภาพ ตัวอักษรและเสียง
คอมพิวเตอร์ฮาดร์แวร์ หมายถึง ส่วนที่ประกอบเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย 5 ส่วนคือ
1. หน่วยรับข้อมูลเข้า Input Unit
-แป้นอักขระ Keyboard
-แผ่นซีดี CD-Rom
-ไมโครโพน Mierophone เป็นต้น ทำหน้าที่ป้อนสัญญาณเข้าสู่ระบบ เพื่อกำหนดให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามต้องการ2. หน่วยประมวลผลกลาง CPU (Central Processing Unit) ทำหน้าที่เกี่ยวกับการคำนวนที่ทำทางตรรกะและคณิตศาสตร์ รวมถึงการประมวลข้อมูลตามคำสั่งที่ได้รับ รวมถึงการประมวลข้อมูลตามคำสั่งที่ได้รับ
3. หน่วยความจำ ( Memory Unit ) ทำหน้าที่เก็บข้อมูลหรือคำสั่งที่ส่งมาจากหน่วยรับข้อมูลเพื่อเตรียมส่งไปประมวลผลว่าหน่วยประมวลผลกลางและเก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลแล้วเพื่อเตรียมส่งไปยังหน่วยแสดงผลแล้วเตรียมส่งไปย้ายหน่วยแสดงผล
4. หน่วยแสดงผล ( Output Unit ) ทำหน้าที่แสดงข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ดำเนินการประมวลผล หรือผ่านการคำนวลแล้ว
5. อุปกรณต่อฟังก์ชั่น ( Peripheral Equipment ) เป็นอุปปกรณ์ที่นำมาต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้มากยิ่งขึ้นเช่น โมเดิม (Modem) แผงวงจรเชื่อมต่อกับเครือข่าย เป็นต้น
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
1. มีความเร็วในการทำงานสูง สามารถประมวลผลคำสั่งได้รวดเร็วเพียงชั่ววินาที จึงใช้งานได้สดวกรวกเร็ว
2. มีประสิทธิภาพในการทำงานสูง
3. มีความถูกต้องแม่นยำ
4. เก็บข้อมูลได้มาก ไม่เปลืองเนื้อที่เก็บเอกสาร
5. สามารถโอนย้ายข้อมูลจากเครื่องหนึ่งไปยังอีก้ครื่องหนึ่งได้
4. หน่วยแสดงผล ( Output Unit ) ทำหน้าที่แสดงข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ดำเนินการประมวลผล หรือผ่านการคำนวลแล้ว
5. อุปกรณต่อฟังก์ชั่น ( Peripheral Equipment ) เป็นอุปปกรณ์ที่นำมาต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้มากยิ่งขึ้นเช่น โมเดิม (Modem) แผงวงจรเชื่อมต่อกับเครือข่าย เป็นต้น
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
1. มีความเร็วในการทำงานสูง สามารถประมวลผลคำสั่งได้รวดเร็วเพียงชั่ววินาที จึงใช้งานได้สดวกรวกเร็ว
2. มีประสิทธิภาพในการทำงานสูง
3. มีความถูกต้องแม่นยำ
4. เก็บข้อมูลได้มาก ไม่เปลืองเนื้อที่เก็บเอกสาร
5. สามารถโอนย้ายข้อมูลจากเครื่องหนึ่งไปยังอีก้ครื่องหนึ่งได้
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ หมายถึง กรรมวิธีที่คอมพิวเตอร์ทำการใดๆ กับข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่เป็นประโยชน์ตามความประสงค์ของผู้ใช่งานให้มากที่สุด เช่น ระบบเสียภาษี ระบบทะเบียนราษฎร์
การเข้าถึงข้อมูลเหล่านี้สามารถเข้าถึงได้โดยการตรวจสอบ การประมวลผลของระบบคอมพิวเตอร์จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
1. ฮาร์ดแวร์ ( Hardware ) 2. ซอฟแวร์ ( Software ) 3. ข้อมูล ( Data ) 4. บุคคลากร ( People )ฮาร์แวร์ ( Hardware )
ฮาร์แวร์ หมายถึง ตัวเครื่องและอุปกรณ์ส่วนต่างๆ ที่เราสามารถสัมผัส และจับต้องได้ ประกอบด้วยส่วนที่สำคับ 4 ส่วน
1. ส่วนประมวลผล 2. ส่วนความจำ 3. อุปกรณ์รับเข้า/ส่งออก 4. อุปกรณ์หน่วยเก็บข้อมูลส่วนที่ 1 CPU เป็นสมองของคอมพิวเตอร์ มีหน้าที่หลักในการควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ แปลข้อมูลดิบ และนำกับมาใช่ได้ประโยชน์
ส่วนที่ 2 หน่วยความจำ ( Memory )จำแนกออกเป็น 3 ประเภท
1. หน่วยความจำหลัก
2. หน่วยความจำลอง
3. หน่วยเก็บข้อมูล
1. หน่วยความจำหลัก แบ่งได้
1.1 หน่วยความจำแบบ "แรม" RAM = Random Access Memory เป็นหน่วยที่ต้องการไฟฟ้าในการจัดเจ็บข้อมูลจนกว่าเราจะเปิดเครื่อง หรือเพื่อรักษาข้อมูล เป็นแบบลบเลือนได้
1. หน่วยความจำหลัก แบ่งได้
1.2 หน่วยความจำแบบ "รอม" ROM = Read only Memory เป็นหน่วยความจำที่ใช้เก็บโปรแกรมเกี่ยวกับคอม เป็บแบบความจำที่ไม่ลบเลือน เป็นข้อมูลถาวร
2. หน่วยความจำสำรอง
หน่วยความจำสำรอง เป็นหน่วยความจำที่ทำงานกับข้อมูล และโปรแกรมขนาดใหญ่ เนื่องจากขนาดของหน่วยความจำมีจำกัด หน่วยความจำสำรองจึงสามารถเก็บไว้ได้หลายแบบ เช่น Herd Disk CD-Rom Floppy Disk
หน่วยความจำสำรอง เป็นหน่วยความจำที่ทำงานกับข้อมูล และโปรแกรมขนาดใหญ่ เนื่องจากขนาดของหน่วยความจำมีจำกัด หน่วยความจำสำรองจึงสามารถเก็บไว้ได้หลายแบบ เช่น Herd Disk CD-Rom Floppy Disk
หน่วยความจำสำรอง ( Secondary Memory Unit )
หน่วยความจำสำรอง หรือ หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง เป็นหน่วยเก็บข้อมูลที่สามารถรักษาข้อมูลได้ตลอดไปหลังจากปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้ว
หน่วยความจำสำรองมีหน้าที่หลัก คือ
1. ใช้ในการเก็บข้อมูล หรือสำรองข้อมูลเพื่อใช้ในอนาคต
2. ใช้ในการการเก็บข้อมูลโปรแกรมไว้อย่งถาวร
3. ใช้เป็นสื่อในการสื่อสารผ่านข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องหนึ่งไปอีกเครื่อวงหนึ่ง
หน่วยความจำรองจะช่วนแก้ปัญหาการสวูญหายของข้อมูลอันเนื่องมาจากไฟฟ้าดับเพราะข้อมูลต่างๆ ที่ส่งเข้ามาประมวลผล เมื่อเรียบร้อยแล้ว ผลลัพธ์ที่ได้จะถูกนำไปเก็บในความจำหลับประเภทแรม หากปิดเครื่องหรือมีปัญหาทางไฟฟ้า อาจทำให้ข้อมูลสูยหายจึงจำเป็นที่จะต้องมีความจำแบบสำรอง เพื่อนำข้อมูลจากหน่วยความจำแรมมาเก็บไว้ใช้งานในครั้งต่อไป หน่วยความจำประเภทนี้ ส่วนใหญ่จะใช้ในรูปแบบของสื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลภายนอก เช่น ฮาร์ดดิสก์ แผ่นบันทึก หน่วยความจำสำรองถึงจะไม่มีอยู่ในคอมพิวเตอร์ แต่เครื่องคอมพิวเตอร์ก็ยังสามารถทำงานได้โดยปรกติ
ส่วนที่แสดงผลข้อมูล ส่วนที่แสดงผลข้อมูล คือ ส่วนที่แสดงข้อมูลจากสัญญาณไฟฟ้าในหน่วยประมวลผลกลางให้เป็นรูปแบบที่คนเราสามารถเข้าใจได้ อุปกรณ์ที่แสดงผลข้อมูลได้แก่ จอภาพ (monitor) เครื่องพิมพ์ ( printer ) เครื่องพิมพ์ภาพ ( Plotor ) และลำโพง ( Speaker )
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง คนที่มีความรู้ความสามารถในการใช้หรือควบคุมให้การใช้คอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างราบรื่นอาจประกอบด้วยคนเพียงคนเดียว หรือหลายคนช่วยกันรับผิดชอบโครงสร้างของหน่วยงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของบุคลากรทางคอมพิวเตอร์
1. ฝ่ายวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน
2. ฝ่ายเกี่ยวกับโปรแกรม
3. ฝ่ายปฏิบัติงานเครื่องและบริการ
บุคลากรในหน่วยงานคอมพิวเตอร์
1. หัวหน้าหน่วยงานคอมพิวเตอร์ Edp. Monager
2. หัวหน้าฝ่ายวิเคราะห์และวางแผนระบบงาน System lnaly
3. โปรแกรมเมอร์ Programmer
4. ผู้ควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์ Comput Operation
5. พนักงานจัดเตรียมข้อมูล
1. ผู้จัดระบบ คือผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน
2. นักวิเคราะห์ระบบงาน คือ ผู้ทำการศึกษาระบบงานเดิม หรืองานใหม่ และทำการวิเคราะห์
3.โปรแกรมเมอร์ คือ ผู้นำระบบงานใหม่ที่นักวิเคราะห์ระบบออกแบบไว้มาสร้างเป็นโปรแกรม
4. วิศวกรระบบ คือ ผู้ทำหน้าที่ออกแบบ สร้าง ซ่อมบำรุงและดูแลรักษาฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ให้สามารถทำงานได้ตามต้องการ
5. พนักงานปฎิบัติการ คือ ผู้ทำหน้าที่เกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่หรือ ภารกิจประจำวันที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ แบ่งประเภทการจัดการระบบ 4 ระดับ
2. นักวิเคราะห์ระบบ
3. โปรแกรมเมอร์
4. ผู้ใช้ User
ซอฟต์แวร์ Software
ซอฟต์แวร์ คือ การลำดับขั้นตอนการทำงานของคำสั่งที่จะทำหน้าที่สั่งคอมพิวเตอร์ ว่าให้ทำอะไรเป็นชุดของโปรแกรมหลายๆ โปรแกรมมารวมกันให้สามารถทำงานได้อย่างครบถ้วน สมบรูณ์ตามที่ต้องการ เรามองเห็นไม่ได้ หรือสัมผัสไม่ได้ แต่เารสามรถ สร้าง หรือจัดเก็บ และนำมาใช้งานหรือเผยแผ่ได้ด้วยสื่อหลายชนิด เช่น แผ่นบัน แผ่นชีดี
หน้าที่ของซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีซอฟต์แวร์เราก็ไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำอะไรได้เลย ซอฟต์แวร์สำหรับคอมพิวเตอร์ ประเภทของซอฟต์แวร์ 3 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่
1. ซอฟต์ระบบ
2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์
3. ซอฟแวร์ใช้งานเฉพาะ หน่วยงาน
2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์
3. ซอฟแวร์ใช้งานเฉพาะ หน่วยงาน
1.ซอฟต์แวร์ระบบ
ซอฟต์แวร์ระบบเป็นโปรแกรมที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช่จัดการกับระบบหน้าที่การทำงานของซอฟต์แวร์ระบบคือ ดำเนินงานพื้นฐานต่างๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น รับข้อมูลจากแผง ป้อนข้อมูลแล้วแปลความหมายให้คอมพิวเตอร์ นำข้อมูลไปแสดงผลออกจอภาพ หรือนำออกไปยังเครื่องพิมพ์
System sofware หรือโปรแกรมระบบที่รู้จักกันดีก็คือ Dos,Windows,Unix,Linux รวมทั้งโปรแกรมแปลคำสั่งที่เขียนในภาษาระดับสูง เช่น ภาษา Basic,Fortranหน้าที่ของซอฟต์แวร์ระบบ
1.ใช่ในการจัดหน่วยรับหน่วยส่งออกส่งคอมพิวเตอร์ เช่น รับรู้ การกดเป็นต่างๆบนแผนแป้นอักขระ ส่งรหัสตัวอักษรออกทางจอภาพหรือเครื่องพิมพ์
2.ใช้ในการจัดการหน่วยความจำ เพื่อนำข้อมูลจากแผ่นบันทึกมาบรรจุยังหน่วยความจำหลัก
3.ใช้เป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้กับเครื่อง คอมพิวเตอร์เพื่อให้สามารถใช้งานได้ง่ายขึ้น เช่นการขอดูรายการในสารบบในแผ่นบันทึกการทำสำเนาแฟ้มข้อมูลต่างๆ
ประเภทของซอฟต์แวร์ระบบ
1.ระบบปฎิบัติการ
2.ตัวแปลภาษา
1.ระะบบปฎิษัติการ หรือที่เรียกว่า Operating System : OS
ซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีซอฟต์แวร์ระบบปฎิบัติการนี้ระบบปฎิษัติการที่รู้จักกันดี เช่น ดอส วินโดวส์ ยูนิกส์ เป็นต้น
1.1 ดอส เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบงานที่พัฒนามานานแล้ว
1.2 วินโดวส์ เป็นระบบปฎิษัติการที่พัฒนามาตั้งแต่จากดอสโดยให้ผู้ใช้สั่งงานได้
1.3 ยูนิกส์ เป็นระบบปฎิบัติที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ระบบปฎิบัติการยูนิกส์
เป็นระบบปฎิบัติการที่เทคโนโลยีแบบเปิด
1.4 ลีนุกซ์ เป็นระบบปฎิบัติการที่พัฒนามายูนิกซ์ เป็นระบบซึ่งมีการการแจกจ่ายโปรแกรมต้นฉบับ
ให้นำพัฒนาช่วยกันพัฒนาคุณสมบัติของระบบปฎิบัติลีนุกซ์เป็นที่นิยมกันมากขึ้นในปัจจุบัน
1.5 แมคอินทอช เป็นระบบปฎิบัติการสำหรับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ แมคอินทอชส่วนมากนำ
ไปใช้งานด้านกราฟิก ออกแบบและจัดแต่งเอกสารนิยมใช้มากในสำนักพิมพ์ต่างๆ
ชนิดของระบบปฎิบัติการสามารถแบ่งได้ 3 ชนิด
1.ประเภทใช้งานเดียว
ระบบปฎิบัติการนี้ละกำหนดให้คอมพิวเตอร์ใช้งานได้ครั้งละหนึ่งงานเท่านั้น
2.ประเภทใช้ได้หลายงาน
ระบบปฎิบัติการประเภทนี้สามารถควบคุมการทำงานพร้อมกันหลายงานในขณะเดียวกันผู้ใช้สามารถ
ทำงานกับซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้หลายชนิด
3.ประเภทใช้งานหลายคน ( Multi-user )
ในหน่วยงานบางแห่งอาจใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ทำหน้าที่ประมวลผลทำให้ในขณะใดขณะหนึ่งมี
ผู้ใช้คอมพิวเตอร์พร้อมกันหลายคน จึงต้องมีความสามารถสูง เพื่อให้ผู้ใช้ทุกทำงานเสณ็จในเวลา
ตัวแปลภาษา
การพัฒนาซอฟต์แวร์ต้องอาศัยซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการภาษาระดับสูง เพื่อแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง
ภาษาระดับสูงมีหลายภาษาซึ่งสร้างขึ้นเพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมเขียนชุดคำสั่งได้ง่าย เข้าใจได้ และเพื่อให้สามารถปรับปรุงซอฟต์แวร์ได้ในภายหลังได้
ภาษาระดับสูงที่พัฒนาขึ้นทุกภาษาต้องมีตัวแปลภาษา
ซึ่งภาษาระดับสูง ได้แก่ ภาษา Basic. Pascal, C และภาษาโลโก เป็นต้น
นอกจากนี้ยังมีภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันอีกมาก ได้แก่ Fortren ,Cobol, และภาษาอาร์พีจี
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
ซอฟต์แวร์ที่ใช้ทำงานร่วมกับคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้งานเฉพาะด้าน เช่น การจัดพิมพ์รายงาน การนำเสนองาน การจัดทำบัญชี การตกแต่งภาพ หรือการออกแบบเว็บไซต์ เป็นต้น
ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์
แบ่งตามลักษณะการผลิด จำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ
1. ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ ( Proprietary Software)
2.ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้ทั่วไป มีทั้งโปรแกรมเฉพาะ packaged Software และโปรแกรมมาตรฐาน (Standard Package)
ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์
แบ่งตามกลุ่มการใช้งาน จำแนกออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ ดังนี้
1. กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ Business
2. กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิก และมัลติมีเดีย Graphic and Multimedia
3. กลุ่มการใช้งานบนเว็บ wed
กลุ่มการใช้งานด้านธุรกิจ Business
ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ถูกนำมาใช้โดยมุ่งหวังในด้านการทำงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น การจัดพิมพ์รายงานเอกสาร การนำเสนองาน และการบันทึกนัดหมายต่างๆ ตัวอย่างเช่น
โปรแกรมประมวลผลคำ อาทิ Microsoft Word , Sun Star Office Writer
โปรแกรม ตารางคำนวณ อาทิ Microsoft Excel , Sun Star Office Cals
โปรแกรมนำเสนอ อาทิ Microsoft PowerPoint, Sun Star Office Impress
กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิก และมัลติมีเดีย Graphic and Multimedia
ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อช้วยจัดการด้านงานกราฟิกและมัลติมีเดีย เพื่อให้งานง่ายขึ้น เช่น ใช้ตกแต่ง วาดภาพ ปรับเสียง ตัดต่อ ภาพเคลื่อนไหว และการสร้างและออกแบบเว็บไซต์ ตัวอย่างเช่นแบ่งตามลักษณะการผลิด จำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ
1. ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ ( Proprietary Software)
2.ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้ทั่วไป มีทั้งโปรแกรมเฉพาะ packaged Software และโปรแกรมมาตรฐาน (Standard Package)
ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์
แบ่งตามกลุ่มการใช้งาน จำแนกออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ ดังนี้
1. กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ Business
2. กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิก และมัลติมีเดีย Graphic and Multimedia
3. กลุ่มการใช้งานบนเว็บ wed
กลุ่มการใช้งานด้านธุรกิจ Business
ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ถูกนำมาใช้โดยมุ่งหวังในด้านการทำงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น การจัดพิมพ์รายงานเอกสาร การนำเสนองาน และการบันทึกนัดหมายต่างๆ ตัวอย่างเช่น
โปรแกรมประมวลผลคำ อาทิ Microsoft Word , Sun Star Office Writer
โปรแกรม ตารางคำนวณ อาทิ Microsoft Excel , Sun Star Office Cals
โปรแกรมนำเสนอ อาทิ Microsoft PowerPoint, Sun Star Office Impress
กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิก และมัลติมีเดีย Graphic and Multimedia
โปรแกรมงานออกแบบ อาทิ Microsoft Visio , Professional
โปรแกรมตกแต่งภาพ อาทิ Corel IDRAW, Adobe Photoshop
โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ และเสียง อาทิ Adobe Premiere, Pinnacie Studio DV
โปรแกรมสร้างสือมัลติมีเดีย อาทิ Adobe Authorware , Toolbook Instructor. Adobe Director
โปรแกรมสร้างเว็บ อาทิ Adobe Flash, Adobe Dreamweaver
กลุ่มการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร
เมื่อเกิดการเติบโตของเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ได้ถูกพัฒนาเพื่อใช้งานเฉพาะเพิ่มมากขึ้น เช่นโปรแกรมการตรวจเซ็คอีเมล การท่องเว็บ การจัดการการดูแลเว็บ การส่งข้อความติดต่อสื่อสาร การประชุมทางไกลผ่านเครือข่าย ตัวอย่างเช่น
โปรแกรมจัดการอีเมล อาทิ Microsoft Dutlook, Mozzila THunderdird
โปรแกรมท่องเว็บ อาทิ Microsoft Internet Explorer, Mozzila Firefox
โปแกรม ประชุมทางไกล ( Video Confernce) อาทิ Microsoft Netmeeting
เมื่อเกิดการเติบโตของเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ได้ถูกพัฒนาเพื่อใช้งานเฉพาะเพิ่มมากขึ้น เช่นโปรแกรมการตรวจเซ็คอีเมล การท่องเว็บ การจัดการการดูแลเว็บ การส่งข้อความติดต่อสื่อสาร การประชุมทางไกลผ่านเครือข่าย ตัวอย่างเช่น
โปรแกรมจัดการอีเมล อาทิ Microsoft Dutlook, Mozzila THunderdird
โปรแกรมท่องเว็บ อาทิ Microsoft Internet Explorer, Mozzila Firefox
โปแกรม ประชุมทางไกล ( Video Confernce) อาทิ Microsoft Netmeeting
โปรแกรมส่งข้อความด่วน (Internet Messaging) อาทิ MSN Messager/ Windows Messager, ICQ
โปรแกรมสนทนาบนอินเตอร์เน็ต อาทิ PIRCH , MIRCH
โปรแกรมสนทนาบนอินเตอร์เน็ต อาทิ PIRCH , MIRCH
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
การใช้ภษาเครื่องนี้ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้ จะมีข้อยุ่งยากมาก เพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่เป็นตัวอั้กษรื เป็นประโยคข้อความ ภาษาในลักษณะดังกล่าว นี้เรียกว่า ภาษาคอมพิวเตอร์ระดัยสูง ภาษาระดับสูงมีอยู่มากมายบางภาษามีความหมายเหมาะสมกับการใช้สั่งงานการคำนวณทางคณิตศาตร์ และวิทยาศาสตร์ บางภาษามีความเหมาะสมไว้ใช้สั่งงานทางด้านการจัดการข้อมูล
การใช้ภษาเครื่องนี้ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้ จะมีข้อยุ่งยากมาก เพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่เป็นตัวอั้กษรื เป็นประโยคข้อความ ภาษาในลักษณะดังกล่าว นี้เรียกว่า ภาษาคอมพิวเตอร์ระดัยสูง ภาษาระดับสูงมีอยู่มากมายบางภาษามีความหมายเหมาะสมกับการใช้สั่งงานการคำนวณทางคณิตศาตร์ และวิทยาศาสตร์ บางภาษามีความเหมาะสมไว้ใช้สั่งงานทางด้านการจัดการข้อมูล
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
เมือมนุษย์ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทำงานมนุษย์จะต้องบอกขั้นตอนวิธีการให้คอมพิวเตอร์ทราบการที่บอกสิ่งที่มนุษย์เข้าให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และทำงานได้อย่างถูกต้อง จำเป็นต้องมีสื่อกลาง
ถ้าเปรียบเทียบกับชีวิตประจำวันแล้ว เรามีภาษาที่ใช้ในการติดต่อซึ่งกันและกัน เช้นเดียวกันถ้ามนุษย์ ต้องการจะถ่ายทอดความต้องการให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และปฎิบัติตามจะต้องมีสื่อกลางสำหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้ เราเรียกสื่อกลางนี้ว่า ภาษาคอมพิวเตอร์
เมือมนุษย์ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทำงานมนุษย์จะต้องบอกขั้นตอนวิธีการให้คอมพิวเตอร์ทราบการที่บอกสิ่งที่มนุษย์เข้าให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และทำงานได้อย่างถูกต้อง จำเป็นต้องมีสื่อกลาง
ถ้าเปรียบเทียบกับชีวิตประจำวันแล้ว เรามีภาษาที่ใช้ในการติดต่อซึ่งกันและกัน เช้นเดียวกันถ้ามนุษย์ ต้องการจะถ่ายทอดความต้องการให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และปฎิบัติตามจะต้องมีสื่อกลางสำหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้ เราเรียกสื่อกลางนี้ว่า ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ ในแต่ละยุค ประกอบด้วย
ภาษาเครื่อง
เนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยสัญญาณทางไฟฟ้าใช้แทนด้วยตัวเลข 0 และ 1 ได้ ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์ใช้ตัวเลข 0 และ 1 เป็นรหัสแทนคำสั่งในการสั่งงานคอมพิวเตอร์ รหัสแทนข้อมูลและคำสั่งโดยใช้ระบบตัวเลขฐานสองนี้ คอมพิวเตอร์สามารถ เข้าใจได้ เราเรียกเลขฐานสองที่ประกอบกันเป็นชุดคำสั่ง และใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ ว่า ภาษาเครื่อง
การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันทีแต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมาก เพราะเข้าใจ และจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาเครื่องขึ้น
ภาษาเครื่อง
เนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยสัญญาณทางไฟฟ้าใช้แทนด้วยตัวเลข 0 และ 1 ได้ ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์ใช้ตัวเลข 0 และ 1 เป็นรหัสแทนคำสั่งในการสั่งงานคอมพิวเตอร์ รหัสแทนข้อมูลและคำสั่งโดยใช้ระบบตัวเลขฐานสองนี้ คอมพิวเตอร์สามารถ เข้าใจได้ เราเรียกเลขฐานสองที่ประกอบกันเป็นชุดคำสั่ง และใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ ว่า ภาษาเครื่อง
การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันทีแต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมาก เพราะเข้าใจ และจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาเครื่องขึ้น
ภาษาแอสเซมบลี
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 2 ถัดจากภาษาเครื่อง ภาษาแอสเซมบลี ช่วยลดความยุ่งยากในการเขียโปรแกรมเพื่อติดต่อกับคอมพืวเตอร์
แต่อย่างไรก็ตามภาษาแอสเซมบลี ก็ยังมีความใกล้เคียงกับภาษาเครื่องอยู่มาก และจำเป็นต้องใช้ตัวแปลภาษา ที่เรียกว่า ภาษาแอสเซมเลอร์
ภาษาระดับสูง ( High-Level Languages )
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 3 เริ่มมีการใช้ชุดคำสั่งที่เรียกว่า Statements ที่มีลักษณะที่เป็นประโยคภาษาอังกฤษ ทำให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเข้าใจชุด คำสั่งเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานง่ายขึ้น ผู้คนทั่วไปสามารถเรียนรู้ และเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น เนื่องจากภาษาระดับสูงใกล้เคียงกับภาษามนุษย์ ตัวแปลภาษาระดับสูงเพื่อให้เป็นภาษาเครื่องนั้น มีอยู่ 2 ชนิด คือ
คอมไพเลอร์ ( Compiler ) และ อินเทอร์พรีเตอร์ ( Interpreter )
คอมไพเลอ จะทำการแปลโปแกรมที่เขียนเป็นภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องก่อน แล้งจึงให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามภาษาเครื่องนั้น
อินเตอร์พรีเตอร์ จะทำการแปลทีละคำสั่งบ แล้วให้คอมพิวเตอร์ทำตามคำสั่งนั้น เมื่อทำเสร็จแล้วจึงมาทำการแปลคำสั่งลำดับต่อไป
ข้อแตกต่าง คอมไพเลอร์ กับอินเตอร์พรีเตอร์ จึงอยู่ที่การแปลทั้งโปรแกรม หรือแปลทีละคำสั่ง
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 2 ถัดจากภาษาเครื่อง ภาษาแอสเซมบลี ช่วยลดความยุ่งยากในการเขียโปรแกรมเพื่อติดต่อกับคอมพืวเตอร์
แต่อย่างไรก็ตามภาษาแอสเซมบลี ก็ยังมีความใกล้เคียงกับภาษาเครื่องอยู่มาก และจำเป็นต้องใช้ตัวแปลภาษา ที่เรียกว่า ภาษาแอสเซมเลอร์
ภาษาระดับสูง ( High-Level Languages )
เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 3 เริ่มมีการใช้ชุดคำสั่งที่เรียกว่า Statements ที่มีลักษณะที่เป็นประโยคภาษาอังกฤษ ทำให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเข้าใจชุด คำสั่งเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานง่ายขึ้น ผู้คนทั่วไปสามารถเรียนรู้ และเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น เนื่องจากภาษาระดับสูงใกล้เคียงกับภาษามนุษย์ ตัวแปลภาษาระดับสูงเพื่อให้เป็นภาษาเครื่องนั้น มีอยู่ 2 ชนิด คือ
คอมไพเลอร์ ( Compiler ) และ อินเทอร์พรีเตอร์ ( Interpreter )
คอมไพเลอ จะทำการแปลโปแกรมที่เขียนเป็นภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องก่อน แล้งจึงให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามภาษาเครื่องนั้น
อินเตอร์พรีเตอร์ จะทำการแปลทีละคำสั่งบ แล้วให้คอมพิวเตอร์ทำตามคำสั่งนั้น เมื่อทำเสร็จแล้วจึงมาทำการแปลคำสั่งลำดับต่อไป
ข้อแตกต่าง คอมไพเลอร์ กับอินเตอร์พรีเตอร์ จึงอยู่ที่การแปลทั้งโปรแกรม หรือแปลทีละคำสั่ง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น