วันจันทร์ที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2555

หน่วยที่5

ระบบข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์

โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์

นายวีระศักดิ์  สีมาคำ
คบ.1 หมู่1 สาขาวิชาภาษาไทย
1 เครือข่ายเฉพาะที่
2 เครือข่ายเมือง เป็นเครือข่ายLAN ที่นำมาเชื่อมต่อกันที่ใหญ่ขึ้น
3 เครือข่ายบริเวณกว่าง เป็นเครือข่ายที่ใหญ่ขึ้นไปอีก เช่นอินเตอร์เน็ต

รูปแบบโครงสร้างเครือข่าย

1  เครือข่ายแบบดาว
2  เครือข่ายแบบวงแหวน
3  เครือยข่ายแบบบัส
4  เครือข่ายแบบต้นไม้

1.แบบดาว

หมายถึงการเชื่อมโยงกับสถานนีอื่น 

2.แบบวงแหวน

เป็นสถานีเครือข่ายทุกสถานีจะต้องเชื่อมต่อกับเครืองขยายสัญญาณของตัวเอง

3.แบบบัส    

เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณต่างๆ ด้วยสายเคเบิ้ลยาว ต่อไปเรื่อยๆ

4.แบบต้นไม้

เป็นเครือข่ายที่มีการผสมผสานโครงสร้างแบบต่างๆเข้าด้วยกันเป้นเครือข่ายขนานใหญ่ การจัดส่งข้อมูลสามารถส่งไปถึงได้ทุกสถานี


 

รูปแบบการการใช้งานของระบบคอมพิวเตอร์

มี3ประเภทคือ

1ระบบเครือข่ายแบบรวมศูย์กลาง

เป็นระบบที่มีเครื่องหลักเพียงเครื่องเดียวที่ใช้ในการประมวลผล ตั้งอยู่ศูนย์กลางและมีการเชื่อมต่ไปยังเครืองเทอร์มินอลที่อยู่รอบๆๆใช้ส่ายเคเบิลเชื่อมต่อกันโดยครง    

                                                       2.ระบบเครือข่าย Peer-to-Peer

หมายถึงความเท่าเทียมกันสามารถใช้ข้อมูลด้วยกันได้ และสามารถแบ่งบันข้อมูลด้วยกันได้

3.เครือข่ายแบบ Client /Server

ระบบ Client /Server สามารถสนับสนุนให้มีเครื่องให้ลูกข่ายได้เป็นจำนวนมาก  และสามารถเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้หลายสถานี


วันอาทิตย์ที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2555

คอมพิวเตอร์และระบบคอมพิวเตอร

นาย วีระศักดิ์  สีมาคำ  คบ.1 หมู่1 สาขาวิชาภาษาไทย

 

ความหมายของคอมพิวเตอร์ 
         คอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องมือหรืออุปกรณ์ประเภทอิเล็กทรอนิกส์ที่ทำงานด้วย คำสั่ง ชุดทำสั่ง หรือโปรแกรมต่างๆ สามารถเชื่อมต่อกับเป็นเครือข่ายได้หลายแบบ  ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์คือ มีศักยภาพสูงในการประมวลผลและคำนวณ ที่มีข้อมูลที่เป็นตัวเลข และรูปภาพ ตัวอักษรและเสียง


ส่วนประกอบสำคัญของคอมพิวเตอร์

      คอมพิวเตอร์ฮาดร์แวร์ หมายถึง ส่วนที่ประกอบเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย 5 ส่วนคือ

1. หน่วยรับข้อมูลเข้า Input Unit
               -แป้นอักขระ  Keyboard
               -แผ่นซีดี  CD-Rom
               -ไมโครโพน Mierophone เป็นต้น   ทำหน้าที่ป้อนสัญญาณเข้าสู่ระบบ เพื่อกำหนดให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามต้องการ

2. หน่วยประมวลผลกลาง CPU (Central Processing Unit)   ทำหน้าที่เกี่ยวกับการคำนวนที่ทำทางตรรกะและคณิตศาสตร์  รวมถึงการประมวลข้อมูลตามคำสั่งที่ได้รับ  รวมถึงการประมวลข้อมูลตามคำสั่งที่ได้รับ


3. หน่วยความจำ ( Memory Unit )  ทำหน้าที่เก็บข้อมูลหรือคำสั่งที่ส่งมาจากหน่วยรับข้อมูลเพื่อเตรียมส่งไปประมวลผลว่าหน่วยประมวลผลกลางและเก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลแล้วเพื่อเตรียมส่งไปยังหน่วยแสดงผลแล้วเตรียมส่งไปย้ายหน่วยแสดงผล

4. หน่วยแสดงผล ( Output Unit ) ทำหน้าที่แสดงข้อมูลที่คอมพิวเตอร์ดำเนินการประมวลผล หรือผ่านการคำนวลแล้ว


5. อุปกรณต่อฟังก์ชั่น ( Peripheral Equipment )   เป็นอุปปกรณ์ที่นำมาต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้มากยิ่งขึ้นเช่น โมเดิม (Modem)  แผงวงจรเชื่อมต่อกับเครือข่าย เป็นต้น


ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
                 1. มีความเร็วในการทำงานสูง สามารถประมวลผลคำสั่งได้รวดเร็วเพียงชั่ววินาที จึงใช้งานได้สดวกรวกเร็ว
                 2. มีประสิทธิภาพในการทำงานสูง
                 3. มีความถูกต้องแม่นยำ
                 4. เก็บข้อมูลได้มาก ไม่เปลืองเนื้อที่เก็บเอกสาร
                 5. สามารถโอนย้ายข้อมูลจากเครื่องหนึ่งไปยังอีก้ครื่องหนึ่งได้

ระบบคอมพิวเตอร์
         
ระบบคอมพิวเตอร์ หมายถึง กรรมวิธีที่คอมพิวเตอร์ทำการใดๆ กับข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่เป็นประโยชน์ตามความประสงค์ของผู้ใช่งานให้มากที่สุด เช่น ระบบเสียภาษี  ระบบทะเบียนราษฎร์    
         การเข้าถึงข้อมูลเหล่านี้สามารถเข้าถึงได้โดยการตรวจสอบ การประมวลผลของระบบคอมพิวเตอร์จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
           1. ฮาร์ดแวร์ ( Hardware )           2. ซอฟแวร์  ( Software )           3. ข้อมูล ( Data )           4. บุคคลากร  ( People )


ฮาร์แวร์  ( Hardware )
               ฮาร์แวร์ หมายถึง ตัวเครื่องและอุปกรณ์ส่วนต่างๆ ที่เราสามารถสัมผัส และจับต้องได้ ประกอบด้วยส่วนที่สำคับ  4 ส่วน
          1. ส่วนประมวลผล          2. ส่วนความจำ          3. อุปกรณ์รับเข้า/ส่งออก          4. อุปกรณ์หน่วยเก็บข้อมูล


ส่วนที่ 1 CPU เป็นสมองของคอมพิวเตอร์ มีหน้าที่หลักในการควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ แปลข้อมูลดิบ และนำกับมาใช่ได้ประโยชน์  

ส่วนที่ 2   หน่วยความจำ ( Memory )จำแนกออกเป็น 3 ประเภท
                 1. หน่วยความจำหลัก
                 2. หน่วยความจำลอง
                 3. หน่วยเก็บข้อมูล

1.
หน่วยความจำหลัก  แบ่งได้  
         1.1
หน่วยความจำแบบ "แรม"  RAM = Random Access Memory    เป็นหน่วยที่ต้องการไฟฟ้าในการจัดเจ็บข้อมูลจนกว่าเราจะเปิดเครื่อง  หรือเพื่อรักษาข้อมูล เป็นแบบลบเลือนได้
1. หน่วยความจำหลัก  แบ่งได้  

     1.2 หน่วยความจำแบบ "รอม" ROM = Read only Memory   เป็นหน่วยความจำที่ใช้เก็บโปรแกรมเกี่ยวกับคอม  เป็บแบบความจำที่ไม่ลบเลือน  เป็นข้อมูลถาวร

2. หน่วยความจำสำรอง
               
หน่วยความจำสำรอง เป็นหน่วยความจำที่ทำงานกับข้อมูล และโปรแกรมขนาดใหญ่ เนื่องจากขนาดของหน่วยความจำมีจำกัด หน่วยความจำสำรองจึงสามารถเก็บไว้ได้หลายแบบ  เช่น Herd Disk   CD-Rom   Floppy Disk
                   หน่วยความจำสำรอง ( Secondary Memory Unit )
หน่วยความจำสำรอง หรือ หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง เป็นหน่วยเก็บข้อมูลที่สามารถรักษาข้อมูลได้ตลอดไปหลังจากปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้ว

หน่วยความจำสำรองมีหน้าที่หลัก คือ
               1. ใช้ในการเก็บข้อมูล หรือสำรองข้อมูลเพื่อใช้ในอนาคต
               2. ใช้ในการการเก็บข้อมูลโปรแกรมไว้อย่งถาวร
               3. ใช้เป็นสื่อในการสื่อสารผ่านข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องหนึ่งไปอีกเครื่อวงหนึ่ง

ประโยชน์ของหน่วยความจำสำรอง   
              หน่วยความจำรองจะช่วนแก้ปัญหาการสวูญหายของข้อมูลอันเนื่องมาจากไฟฟ้าดับเพราะข้อมูลต่างๆ ที่ส่งเข้ามาประมวลผล เมื่อเรียบร้อยแล้ว ผลลัพธ์ที่ได้จะถูกนำไปเก็บในความจำหลับประเภทแรม หากปิดเครื่องหรือมีปัญหาทางไฟฟ้า อาจทำให้ข้อมูลสูยหายจึงจำเป็นที่จะต้องมีความจำแบบสำรอง เพื่อนำข้อมูลจากหน่วยความจำแรมมาเก็บไว้ใช้งานในครั้งต่อไป หน่วยความจำประเภทนี้ ส่วนใหญ่จะใช้ในรูปแบบของสื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลภายนอก  เช่น ฮาร์ดดิสก์ แผ่นบันทึก หน่วยความจำสำรองถึงจะไม่มีอยู่ในคอมพิวเตอร์ แต่เครื่องคอมพิวเตอร์ก็ยังสามารถทำงานได้โดยปรกติ

ส่วนที่แสดงผลข้อมูล  
                     ส่วนที่แสดงผลข้อมูล  คือ ส่วนที่แสดงข้อมูลจากสัญญาณไฟฟ้าในหน่วยประมวลผลกลางให้เป็นรูปแบบที่คนเราสามารถเข้าใจได้ อุปกรณ์ที่แสดงผลข้อมูลได้แก่ จอภาพ (monitor)  เครื่องพิมพ์ ( printer ) เครื่องพิมพ์ภาพ ( Plotor )  และลำโพง ( Speaker )

บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ 
                    บุคลากรทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง คนที่มีความรู้ความสามารถในการใช้หรือควบคุมให้การใช้คอมพิวเตอร์เป็นไปอย่างราบรื่นอาจประกอบด้วยคนเพียงคนเดียว หรือหลายคนช่วยกันรับผิดชอบโครงสร้างของหน่วยงานคอมพิวเตอร์

ประเภทของบุคลากรทางคอมพิวเตอร์
           1
. ฝ่ายวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน
           2
. ฝ่ายเกี่ยวกับโปรแกรม
           3
. ฝ่ายปฏิบัติงานเครื่องและบริการ
บุคลากรในหน่วยงานคอมพิวเตอร์
          1.
หัวหน้าหน่วยงานคอมพิวเตอร์    Edp. Monager 
          2
. หัวหน้าฝ่ายวิเคราะห์และวางแผนระบบงาน System lnaly
          3.
โปรแกรมเมอร์ Programmer
          4.
ผู้ควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์  Comput Operation
          5.
พนักงานจัดเตรียมข้อมูล


              1. ผู้จัดระบบ คือผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน
              2. นักวิเคราะห์ระบบงาน คือ ผู้ทำการศึกษาระบบงานเดิม หรืองานใหม่ และทำการวิเคราะห์
              3.โปรแกรมเมอร์ คือ ผู้นำระบบงานใหม่ที่นักวิเคราะห์ระบบออกแบบไว้มาสร้างเป็นโปรแกรม
              4. วิศวกรระบบ คือ ผู้ทำหน้าที่ออกแบบ สร้าง ซ่อมบำรุงและดูแลรักษาฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ให้สามารถทำงานได้ตามต้องการ
              5. พนักงานปฎิบัติการ คือ ผู้ทำหน้าที่เกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่หรือ ภารกิจประจำวันที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์      แบ่งประเภทการจัดการระบบ 4 ระดับ
                              1. ผู้จัดการระบบ
                              2. นักวิเคราะห์ระบบ
                              3. โปรแกรมเมอร์
                              4. ผู้ใช้ User




ซอฟต์แวร์ Software
                  ซอฟต์แวร์ คือ การลำดับขั้นตอนการทำงานของคำสั่งที่จะทำหน้าที่สั่งคอมพิวเตอร์ ว่าให้ทำอะไรเป็นชุดของโปรแกรมหลายๆ โปรแกรมมารวมกันให้สามารถทำงานได้อย่างครบถ้วน สมบรูณ์ตามที่ต้องการ เรามองเห็นไม่ได้ หรือสัมผัสไม่ได้ แต่เารสามรถ สร้าง หรือจัดเก็บ และนำมาใช้งานหรือเผยแผ่ได้ด้วยสื่อหลายชนิด เช่น แผ่นบัน แผ่นชีดี



หน้าที่ของซอฟต์แวร์
                  ซอฟต์แวร์  ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีซอฟต์แวร์เราก็ไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำอะไรได้เลย ซอฟต์แวร์สำหรับคอมพิวเตอร์     ประเภทของซอฟต์แวร์  3 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่
            1. ซอฟต์ระบบ
            2
. ซอฟต์แวร์ประยุกต์
            3
. ซอฟแวร์ใช้งานเฉพาะ หน่วยงาน

1.ซอฟต์แวร์ระบบ
                     ซอฟต์แวร์ระบบเป็นโปรแกรมที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช่จัดการกับระบบหน้าที่การทำงานของซอฟต์แวร์ระบบคือ ดำเนินงานพื้นฐานต่างๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น รับข้อมูลจากแผง ป้อนข้อมูลแล้วแปลความหมายให้คอมพิวเตอร์ นำข้อมูลไปแสดงผลออกจอภาพ หรือนำออกไปยังเครื่องพิมพ์ 
                     System sofware หรือโปรแกรมระบบที่รู้จักกันดีก็คือ Dos,Windows,Unix,Linux รวมทั้งโปรแกรมแปลคำสั่งที่เขียนในภาษาระดับสูง เช่น ภาษา Basic,Fortran

     หน้าที่ของซอฟต์แวร์ระบบ
               1.ใช่ในการจัดหน่วยรับหน่วยส่งออกส่งคอมพิวเตอร์ เช่น รับรู้ การกดเป็นต่างๆบนแผนแป้นอักขระ ส่งรหัสตัวอักษรออกทางจอภาพหรือเครื่องพิมพ์
               2.ใช้ในการจัดการหน่วยความจำ เพื่อนำข้อมูลจากแผ่นบันทึกมาบรรจุยังหน่วยความจำหลัก 
               3.ใช้เป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้กับเครื่อง คอมพิวเตอร์เพื่อให้สามารถใช้งานได้ง่ายขึ้น เช่นการขอดูรายการในสารบบในแผ่นบันทึกการทำสำเนาแฟ้มข้อมูลต่างๆ

    ประเภทของซอฟต์แวร์ระบบ
                1.ระบบปฎิบัติการ 
                2.ตัวแปลภาษา



1.ระะบบปฎิษัติการ หรือที่เรียกว่า Operating System : OS 
                   ซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีซอฟต์แวร์ระบบปฎิบัติการนี้ระบบปฎิษัติการที่รู้จักกันดี เช่น ดอส วินโดวส์ ยูนิกส์ เป็นต้น


      1.1 ดอส เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบงานที่พัฒนามานานแล้ว
      1.2 วินโดวส์ เป็นระบบปฎิษัติการที่พัฒนามาตั้งแต่จากดอสโดยให้ผู้ใช้สั่งงานได้
      1.3 ยูนิกส์ เป็นระบบปฎิบัติที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ระบบปฎิบัติการยูนิกส์
              เป็นระบบปฎิบัติการที่เทคโนโลยีแบบเปิด
      1.4 ลีนุกซ์ เป็นระบบปฎิบัติการที่พัฒนามายูนิกซ์ เป็นระบบซึ่งมีการการแจกจ่ายโปรแกรมต้นฉบับ
              ให้นำพัฒนาช่วยกันพัฒนาคุณสมบัติของระบบปฎิบัติลีนุกซ์เป็นที่นิยมกันมากขึ้นในปัจจุบัน
      1.5 แมคอินทอช เป็นระบบปฎิบัติการสำหรับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ แมคอินทอชส่วนมากนำ 
              ไปใช้งานด้านกราฟิก ออกแบบและจัดแต่งเอกสารนิยมใช้มากในสำนักพิมพ์ต่างๆ    
    
      ชนิดของระบบปฎิบัติการสามารถแบ่งได้ 3 ชนิด

1.ประเภทใช้งานเดียว
      ระบบปฎิบัติการนี้ละกำหนดให้คอมพิวเตอร์ใช้งานได้ครั้งละหนึ่งงานเท่านั้น
2.ประเภทใช้ได้หลายงาน 
      ระบบปฎิบัติการประเภทนี้สามารถควบคุมการทำงานพร้อมกันหลายงานในขณะเดียวกันผู้ใช้สามารถ
      ทำงานกับซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้หลายชนิด
3.ประเภทใช้งานหลายคน ( Multi-user )
      ในหน่วยงานบางแห่งอาจใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ทำหน้าที่ประมวลผลทำให้ในขณะใดขณะหนึ่งมี
       ผู้ใช้คอมพิวเตอร์พร้อมกันหลายคน จึงต้องมีความสามารถสูง  เพื่อให้ผู้ใช้ทุกทำงานเสณ็จในเวลา


         ตัวแปลภาษา

          การพัฒนาซอฟต์แวร์ต้องอาศัยซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการภาษาระดับสูง เพื่อแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง
                   ภาษาระดับสูงมีหลายภาษาซึ่งสร้างขึ้นเพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมเขียนชุดคำสั่งได้ง่าย เข้าใจได้ และเพื่อให้สามารถปรับปรุงซอฟต์แวร์ได้ในภายหลังได้
   ภาษาระดับสูงที่พัฒนาขึ้นทุกภาษาต้องมีตัวแปลภาษา
ซึ่งภาษาระดับสูง ได้แก่ ภาษา  Basic. Pascal, C และภาษาโลโก  เป็นต้น
  นอกจากนี้ยังมีภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันอีกมาก ได้แก่  Fortren ,Cobol, และภาษาอาร์พีจี


ซอฟต์แวร์ประยุกต์  (Application Software)


2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)

                  ซอฟต์แวร์ที่ใช้ทำงานร่วมกับคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้งานเฉพาะด้าน เช่น การจัดพิมพ์รายงาน การนำเสนองาน การจัดทำบัญชี การตกแต่งภาพ หรือการออกแบบเว็บไซต์ เป็นต้น

ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์
แบ่งตามลักษณะการผลิด  จำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ 
1. ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ ( Proprietary Software)
2.ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้ทั่วไป มีทั้งโปรแกรมเฉพาะ packaged  Software และโปรแกรมมาตรฐาน (Standard Package)
ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์
 แบ่งตามกลุ่มการใช้งาน  จำแนกออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ ดังนี้
 1. กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ Business
2. กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิก และมัลติมีเดีย  Graphic and Multimedia
3. กลุ่มการใช้งานบนเว็บ wed

กลุ่มการใช้งานด้านธุรกิจ Business
        ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ถูกนำมาใช้โดยมุ่งหวังในด้านการทำงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น การจัดพิมพ์รายงานเอกสาร การนำเสนองาน และการบันทึกนัดหมายต่างๆ ตัวอย่างเช่น
โปรแกรมประมวลผลคำ อาทิ Microsoft Word , Sun Star Office Writer
โปรแกรม ตารางคำนวณ อาทิ  Microsoft Excel , Sun  Star Office Cals
โปรแกรมนำเสนอ อาทิ Microsoft  PowerPoint,  Sun  Star Office Impress
กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิก และมัลติมีเดีย  Graphic and Multimedia
          ซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อช้วยจัดการด้านงานกราฟิกและมัลติมีเดีย  เพื่อให้งานง่ายขึ้น เช่น ใช้ตกแต่ง วาดภาพ ปรับเสียง ตัดต่อ ภาพเคลื่อนไหว และการสร้างและออกแบบเว็บไซต์  ตัวอย่างเช่น

โปรแกรมงานออกแบบ อาทิ Microsoft Visio  , Professional
โปรแกรมตกแต่งภาพ อาทิ  Corel IDRAW, Adobe Photoshop
โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ และเสียง อาทิ  Adobe Premiere, Pinnacie Studio DV
โปรแกรมสร้างสือมัลติมีเดีย  อาทิ Adobe Authorware , Toolbook Instructor. Adobe Director
โปรแกรมสร้างเว็บ อาทิ Adobe Flash, Adobe  Dreamweaver

 กลุ่มการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร
      เมื่อเกิดการเติบโตของเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซอฟต์แวร์กลุ่มนี้ได้ถูกพัฒนาเพื่อใช้งานเฉพาะเพิ่มมากขึ้น เช่นโปรแกรมการตรวจเซ็คอีเมล  การท่องเว็บ การจัดการการดูแลเว็บ การส่งข้อความติดต่อสื่อสาร การประชุมทางไกลผ่านเครือข่าย ตัวอย่างเช่น
โปรแกรมจัดการอีเมล อาทิ Microsoft Dutlook, Mozzila THunderdird
โปรแกรมท่องเว็บ อาทิ Microsoft Internet Explorer, Mozzila Firefox
โปแกรม ประชุมทางไกล ( Video Confernce) อาทิ Microsoft Netmeeting
โปรแกรมส่งข้อความด่วน (Internet  Messaging) อาทิ MSN  Messager/ Windows Messager, ICQ
โปรแกรมสนทนาบนอินเตอร์เน็ต อาทิ  PIRCH , MIRCH
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์

            การใช้ภษาเครื่องนี้ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้ จะมีข้อยุ่งยากมาก เพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่เป็นตัวอั้กษรื เป็นประโยคข้อความ  ภาษาในลักษณะดังกล่าว นี้เรียกว่า ภาษาคอมพิวเตอร์ระดัยสูง     ภาษาระดับสูงมีอยู่มากมายบางภาษามีความหมายเหมาะสมกับการใช้สั่งงานการคำนวณทางคณิตศาตร์ และวิทยาศาสตร์ บางภาษามีความเหมาะสมไว้ใช้สั่งงานทางด้านการจัดการข้อมูล
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์


   เมือมนุษย์ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทำงานมนุษย์จะต้องบอกขั้นตอนวิธีการให้คอมพิวเตอร์ทราบการที่บอกสิ่งที่มนุษย์เข้าให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และทำงานได้อย่างถูกต้อง จำเป็นต้องมีสื่อกลาง
    ถ้าเปรียบเทียบกับชีวิตประจำวันแล้ว  เรามีภาษาที่ใช้ในการติดต่อซึ่งกันและกัน เช้นเดียวกันถ้ามนุษย์ ต้องการจะถ่ายทอดความต้องการให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และปฎิบัติตามจะต้องมีสื่อกลางสำหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้ เราเรียกสื่อกลางนี้ว่า  ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ ในแต่ละยุค ประกอบด้วย
   ภาษาเครื่อง  
      เนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยสัญญาณทางไฟฟ้าใช้แทนด้วยตัวเลข 0 และ 1 ได้ ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์ใช้ตัวเลข 0 และ 1 เป็นรหัสแทนคำสั่งในการสั่งงานคอมพิวเตอร์ รหัสแทนข้อมูลและคำสั่งโดยใช้ระบบตัวเลขฐานสองนี้ คอมพิวเตอร์สามารถ เข้าใจได้ เราเรียกเลขฐานสองที่ประกอบกันเป็นชุดคำสั่ง และใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ ว่า ภาษาเครื่อง
          การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันทีแต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมาก  เพราะเข้าใจ และจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาเครื่องขึ้น

ภาษาแอสเซมบลี
    เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่  2 ถัดจากภาษาเครื่อง ภาษาแอสเซมบลี ช่วยลดความยุ่งยากในการเขียโปรแกรมเพื่อติดต่อกับคอมพืวเตอร์
      แต่อย่างไรก็ตามภาษาแอสเซมบลี ก็ยังมีความใกล้เคียงกับภาษาเครื่องอยู่มาก และจำเป็นต้องใช้ตัวแปลภาษา ที่เรียกว่า ภาษาแอสเซมเลอร์

  ภาษาระดับสูง   ( High-Level Languages )
    เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 3  เริ่มมีการใช้ชุดคำสั่งที่เรียกว่า   Statements  ที่มีลักษณะที่เป็นประโยคภาษาอังกฤษ  ทำให้ผู้เขียนโปรแกรมสามารถเข้าใจชุด คำสั่งเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานง่ายขึ้น  ผู้คนทั่วไปสามารถเรียนรู้ และเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น เนื่องจากภาษาระดับสูงใกล้เคียงกับภาษามนุษย์  ตัวแปลภาษาระดับสูงเพื่อให้เป็นภาษาเครื่องนั้น มีอยู่ 2 ชนิด คือ
คอมไพเลอร์  ( Compiler ) และ   อินเทอร์พรีเตอร์   ( Interpreter )



คอมไพเลอ  จะทำการแปลโปแกรมที่เขียนเป็นภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องก่อน แล้งจึงให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามภาษาเครื่องนั้น

อินเตอร์พรีเตอร์   จะทำการแปลทีละคำสั่งบ  แล้วให้คอมพิวเตอร์ทำตามคำสั่งนั้น เมื่อทำเสร็จแล้วจึงมาทำการแปลคำสั่งลำดับต่อไป

    ข้อแตกต่าง   คอมไพเลอร์ กับอินเตอร์พรีเตอร์ จึงอยู่ที่การแปลทั้งโปรแกรม หรือแปลทีละคำสั่ง